วิจารณ์พระไตรปิฎกเชิงวิชาการ-ที่นี่มีคำตอบ
ลูกเป็นนักวิชาการ หลายครั้งต้องวิจารณ์วัดและพุทธประวัติ ด้วยวิธีทางวิชาการ บางครั้งวิจารณ์ในทางที่อาจตีความว่า เป็นการลบหลู่ อย่างนี้จะเป็นบุญหรือบาปอย่างไรคะ
เกิดในตระกูลสูง – หมวดคุณสมบัติ
เกิดในตระกูลสูง เพราะอดีตชาติ มีบุญสงเคราะห์โลก อ่อนน้อมถ่อมตนต่อพระรัตนตรัย และทำบุญในพระพุทธศาสนาด้วยความเคารพ เป็นต้น
ครอบครัวอบอุ่น – หมวดคุณสมบัติ
ครอบครัวอบอุ่น ประกอบด้วย ได้พ่อแม่ดี ได้ลูกดี ได้สามี – ภรรยาดี ซึ่งอาจเคยทำบุญร่วมกันมา เคยเกื้อกูลกันมา หรืออธิษฐานให้มาพบกันอีก
ไม่ปลื้มลูกบวช
คุณแม่ได้ไปร่วมงานบวชของผม แต่ท่านก็ไปอย่างเสียไม่ได้ อีกทั้งยังสั่งห้ามลูกบวชอีก ยกเว้นว่า ถ้าท่านตายแล้ว ถึงจะยอมให้บวชได้ อย่างนี้ท่านจะได้บุญมากน้อยเพียงใด หรือจะมีวิบากกรรมใดไหมครับ
บนบานศาลกล่าว
การบนกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น พระพุทธ-รูป และการบนกับสิ่งที่ไม่ใช่พระรัตนตรัย จะให้ผลต่างกันอย่างไร แล้วอุปนิสัยในการบนจะส่งผลอย่างไรในชาติต่อๆ ไปคะ
มหาปูชนียาจารย์ (1)
ปูชา จ ปูชนียานํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ การบูชาปูชนียบุคคลทั้งหลาย นี้เป็นมงคลอันสูงสุด
แนวคิดการบำเพ็ญบารมี_3
ถ้าเธอปรารถนาบรรลุพระโพธิญาณ เปรียบเหมือนหม้อน้ำที่ใครคนหนึ่งคว่ำปากลง น้ำก็ออกจากหม้อมิได้เหลืออยู่เลย มิได้รักษาน้ำไว้ในหม้อนั้น แม้ฉันใด เธอเห็นยาจกทั้งหลายทั้งที่เป็นชั้นต่ำ ชั้นกลาง ชั้นสูงก็ตาม จงให้ทานโดยไม่เหลือ เหมือนหม้อน้ำที่เขาคว่ำปาก ฉันนั้นเหมือนกัน
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 5 พบมหาพรหม)
บุคคลใด ละบาปกรรมที่ตนทำไว้แล้วได้ด้วยกุศล บุคคลนั้นย่อมยังโลกนี้ให้สว่าง ดุจดวงจันทร์พ้นแล้วจากหมอก ฉะนั้น
ชัยชนะครั้งที่ 8 (ตอนที่ 2 ชนะพกพรหม)
เพราะว่า สังสารวัฏกำหนดที่สุดของเบื้องต้นท่ามกลางและเบื้องปลายไม่ได้ ก็เหตุเพียงเท่านี้ พอทีเดียวที่เธอจะเบื่อหน่ายในสังขารทั้งปวง พอเพื่อจะคลายกำหนัด เพื่อให้พ้นทุกข์
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 4 ชนะสัจจกนิครนถ์)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความปรากฏขึ้นแห่งบุคคลเอก เป็นความปรากฏแห่งจักษุใหญ่ แห่งแสงสว่างใหญ่ แห่งโอภาสใหญ่ แห่งอนุตตริยะ เป็นการกระทำให้แจ้งซึ่งปฏิสัมภิทา ๔ เป็นการแทงตลอดธาตุธรรม